ขอแนะนำตัวอย่างการเปรียบเทียบโรโบซิลินเดอร์กับกระบอกลมในส่วนของค่าไฟฟ้า
ตัวอย่างการเปรียบเทียบนี้ เป็นผลการคำนวณโดยใช้กระบอกลมและโรโบซิลินเดอร์ที่สเปคเท่ากัน และทำงานแบบเดียวกัน
หัวข้อเปรียบเทียบ | กระบอกลมแบบไร้ก้าน (Rod-Less) |
โรโบซิลินเดอร์ / แบบสไลเดอร์ |
---|---|---|
สเปคและเงื่อนไขการใช้งาน | ・ขนาดเส้นผ่านศก. ของกระบอก:φ16 มม. ・แรงดันลม:0.4 MPa ・ขนาดเส้นผ่านศก. ของท่อลม:φ2.5 มม., |
・แอคชูเอเตอร์:RCP3-SA5C ・คอนโทรลเลอร์:PCON-C (สำหรับพัลส์มอเตอร์) ・ระยะสโตรค:500 มม. |
คำนวณเปรียบเทียบด้วยรุ่นที่ลำเลียงชิ้นงานขนาด 10 กก. ในแนวนอน ระยะเวลาเดินเครื่องใน 1 วัน :18 ชม. / วัน, จำนวนวันที่เครื่องทำงานต่อปี:240 วัน / ปี, ไซเคิลไทม์:5 วินาที / 1 รอบไป-กลับ, ระยะเคลื่อนที่:500 มม. |
||
ปริมาณลมที่ใช้ทั้งปี | 3371.1 ลบ.ม. / ปี (ANR) | ─ |
ปริมาณไฟฟ้าที่ใช้ทั้งปี | (คำนวณโดยให้ "ค่าลมอัดอากาศ = ค่าไฟฟ้า" จะเท่ากับ 365.2 กิโลวัตต์ / ปี) | 99.2 กิโลวัตต์ / ปี |
ค่าไฟฟ้าทั้งปีและต้นทุนค่าลมอัดอากาศ (1 ลบ.ม. (ANR) = 1.3 เยน) ?ต้นทุนค่าไฟฟ้า (1 กิโลวัตต์ = 12 เยน) |
4,382 เยน / ปี | 1,191 เยน / ปี |
สูตรการคำนวณ | [ปริมาณลมที่ใช้ต่อ 1 รอบการทำงาน] x [จำนวนครั้งที่เคลื่อนที่ใน 1 วัน] x [ต้นทุนค่าลมอัดอากาศ] x จำนวนวันที่เครื่องทำงานทั้งปี = 0.0010838 ลบ.ม. / ครั้ง x 12,960 ครั้ง / วัน x 1.3 เยน / ลบ.ม. x 240 วัน / ปี ≒ 4,382 เยน / ปี |
[ปริมาณไฟฟ้าที่ใช้ต่อ 1 รอบการทำงาน] x [จำนวนครั้งที่เคลื่อนที่ใน 1 วัน] x [ต้นทุนค่าไฟฟ้า] x จำนวนวันที่เครื่องทำงานทั้งปี = 0.0319 วัตต์ / ครั้ง x 12,960 ครั้ง / วัน x 12 เยน / กิโลวัตต์ x 240 วัน / ปี ≒1,191 เยน / ปี |
ผลลัพธ์ | ต้นทุนค่าดูแลรักษาของกระบอกไฟฟ้าเมื่อเปรียบเทียบกับกระบอกลมจะอยู่ที่ประมาณ 28% |
|
มูลค่าต้นทุนค่าดูแลรักษาที่ลดได้ทั้งปี = 3,191 เยน / ปี
ปริมาณ CO2 ที่ลดได้ทั้งปี = 0.12103 ตัน / ปี (ลดได้ราว 72%) (คำนวณโดยให้ "ต้นทุนค่าลมอัดอากาศ = ค่าไฟฟ้า" และค่าสัมประสิทธิ์การปล่อย CO2 เท่ากับ 0.000455 ตัน-CO2 / กิโลวัตต์) |
หัวข้อเปรียบเทียบ | กระบอกลมแบบมีก้าน (Rod) |
โรโบซิลินเดอร์ / แบบมีก้าน (Rod)
|
---|---|---|
สเปคและเงื่อนไขการใช้งาน | ・ขนาดเส้นผ่านศก. ของกระบอก: φ32 มม. ・แรงดันลม:0.4 MPa ・ขนาดเส้นผ่านศก. ของท่อลม: φ2.5 มม., |
・แอคชูเอเตอร์:RCP2-RA6C ・คอนโทรลเลอร์:PCON-C (สำหรับพัลส์มอเตอร์) ・ระยะสโตรค:100 มม. |
คำนวณเปรียบเทียบด้วยรุ่นที่ลำเลียง (ใช้ไกด์ประคองร่วม) ชิ้นงานขนาด 20 กก. ในแนวนอน ระยะเวลาเดินเครื่องใน 1 วัน :18 ชม. / วัน, จำนวนวันที่เครื่องทำงานต่อปี:240 วัน / ปี, ไซเคิลไทม์:5 วินาที / 1 รอบไป-กลับ, ระยะเคลื่อนที่:100 มม. |
||
ปริมาณลมที่ใช้ทั้งปี | 2433.1 ลบ.ม. / ปี (ANR) | ─ |
ปริมาณไฟฟ้าที่ใช้ทั้งปี | (คำนวณโดยให้ "ค่าลมอัดอากาศ = ค่าไฟฟ้า" จะเท่ากับ 263.5 กิโลวัตต์ / ปี) |
103.3 กิโลวัตต์ / ปี |
ค่าไฟฟ้าทั้งปีและต้นทุนค่าลมอัดอากาศ (1 ลบ.ม. (ANR) = 1.3 เยน) ・ต้นทุนค่าไฟฟ้า (1 กิโลวัตต์ = 12 เยน) |
3,163 เยน / ปี | 1,239 เยน / ปี |
สูตรการคำนวณ | [ปริมาณลมที่ใช้ต่อ 1 รอบการทำงาน] x [จำนวนครั้งที่เคลื่อนที่ใน 1 วัน] x [ต้นทุนค่าลมอัดอากาศ] x จำนวนวันที่เครื่องทำงานทั้งปี = 0.0007823 ลบ.ม. / ครั้ง x 12,960 ครั้ง / วัน x 1.3 เยน / ลบ.ม. x 240 วัน / ปี ≒ 3,163 เยน / ปี |
[ปริมาณไฟฟ้าที่ใช้ต่อ 1 รอบการทำงาน] x [จำนวนครั้งที่เคลื่อนที่ใน 1 วัน] x [ต้นทุนค่าไฟฟ้า] x จำนวนวันที่เครื่องทำงานทั้งปี = 0.0332 วัตต์ / ครั้ง x 12,960 ครั้ง / วัน x 12 เยน / กิโลวัตต์ x 240 วัน / ปี ≒ 1,239 เยน / ปี |
ผลลัพธ์ | ต้นทุนค่าดูแลรักษาของกระบอกไฟฟ้าเมื่อเปรียบเทียบกับกระบอกลมจะอยู่ที่ประมาณ 40% |
|
มูลค่าต้นทุนค่าดูแลรักษาที่ลดได้ทั้งปี = 1,924 เยน / ปี ปริมาณ CO2 ที่ลดได้ทั้งปี = 0.072891 ตัน / ปี (ลดได้ราว 60%) (คำนวณโดยให้ "ต้นทุนค่าลมอัดอากาศ = ค่าไฟฟ้า" และค่าสัมประสิทธิ์การปล่อย CO2 เท่ากับ 0.000455 ตัน-CO2 / กิโลวัตต์) |